...

รอยแผลของจิตที่บังกั้นเรา

การเข้าใจบาดแผลจะทำให้เรารู้สึกถึงอารมณ์มากขึ้น

แผลของจิตใจ

มีอยู่กับจิตของเราตั้งแต่ต้นกำเนิด (ความดึงดูดเข้าหากันเนื่องจากเรายังไม่ได้ใช้ชีวิตความรักและการยอมรับของชาติก่อนของเราซึ่งพ่อแม่ของเราต้องสร้างให้กับเด็กเรา)

แผลของจิตใจ

 

เป็นความเจ็บใจที่รู้สึกระหว่างความสัมพันธ์เมื่อความต้องการของเราไม่ถูกสำเร็จและเราก็ออกอาการด้วยการโทดตัวเราหรือผู้อื่น เป็นความป่วนทางจิตใจที่เรารู้สึกอยู่คนเดียว ที่แยกตัวจากผู้อื่นโดยมีความรู้สึกของการถูกปฏิเสธ การถูกทิ้ง ความละอาย หรือการถูกทรยศถูกปลูกขึ้นมา

ร่างกายเราแสดงออกด้วยหน้ากาก ไม่ใช่บาดแผลของใจ!

 

 

เหตุและผลกระทบของบาดแผลจิตใจ

แผนชีวิต

 

ในสภาพแวดล้อมของเรา ที่พ่อแม่ต้องแก้บาดแผลอันเดียวกัน เราจะดึงดูดสถานการณ์และคนที่จะช่วยแก้แผลจิตใจของเรา

บาดแผลของจิตใจที่ไม่ได้แก้ไม่สามารถใช้ชีวิตในตวามยอมรับได้

 

ตามแผลจิตใจ คนเราจะทำตัวแตกต่างในสถานการณ์อันเดียวกัน

ตัวอย่างเช่น มีภรรยาที่แต่งงานกับชายที่ทำงานชั่วโมงเสริมยาวนานอาจรู้สึกว่าตนเองถูกลืมและไม่สำคัญ แต่ภรรยาอีกคนหนึ่งอาจรู้สึกไม่เหมือนกัน โดยอาจรู้สึกว่าถูกทอดทิ้งและทรยศโดยไม่เชื่อว่าสามีทำงานอยู่จริง และมีอีกตัวอย่างที่ภรรยาอาจรู้สึกว่าไม่เที่ยงทำ ภรรยาที่ไม่รู้สึกผลกระทบจะรู้สึกดีถึงแม้จะอยู่ในสถานการณ์เดียวกัน

อัตตาไม่ยอมที่จะมองเห็นถึงบาดแผลพวกนี้จึงประสบความทุกข์น้อยกว่า นี้คือเหตุผลลที่เราสร้างหน้ากากเพื่อการกระทำรอดของเราโดยหน้าที่หลักคือเพื่อปกป้องเรา และทุกข์น้อยลง สิ่งที่ทำให้เราทุกข์ไม่ใช้สิ่งที่เราใช้ชีวิตอยู่กับ แต่อาการที่เราแสดงออกเป็นผลจากสถานการณ์นั้น และนี้เป็นผลพวงโดยตรงจากบาดแผลที่ไม่ได้รับการรักษา

 

บาดแผลจิตใจที่รบกวรเราในผู้อื่นเป็นของเรา

 

ทุกคนเราสามารถมองเห็นถึงตัวเองในบาดแผลทั้งหมดทีเดียวกัน มันสำคัญที่คนเราต้องเชื่อมั่นในร่างกายตนเอง เพราะว่าเราไม่สามารถรักษาบาดแผลที่ไม่มี แต่มันเป็นไปยากที่เราจะมีแผลทั้งหมดพร้อมกัน

การรักษาบาดแผลเล็กๆหลายแผลง่ายกว่าการซ่อมแผลใหญ่แผลเดียว แผลที่ใหญ่อาจทำให้เรารู้สึกทุกข์กับเพียงเรื่องเล็กๆก็ได้ และทำให้เรามีความคิดสั้นลงและทำให้ต้องใส่หน้ากากย่อยขึ้น ในขณะที่ผู้ที่มีบาดแผลเล็กหลายแผลจะเป็นตัวของตนเองได้มากขึ้น ถึงแม้จะต้องใส่หน้ากากก่อนถึงจะหลบความทุกข์ได้ เมื่อแผลครอบงำเรา เราจะไม่เป็นตัวตนจริง

สิ่งที่ฝักรอยอยู่บนร่างกายและป้องกันเราเหมือนหน้ากาก

 

ร่างกายของเราเปลี่ยนแปลงเรื่อยๆจากบาดแผลต่างๆที่เราประสบ

 

ตัวอย่างเช่น คนเข้มงวดที่ทรมานบาดแผลจากความไม่ยุติธรรมและความละอาย จะรู้สึกละอายยิ่งมากกว่าเดิม เนื่องจากทุกข์อย่างต่อเนื่องจากของพวกนี้ เขาจึงมีน้ำหนักอยู่บนหลังที่ทำให้แม้แต่ความรู้สึกละอายเล็กๆน้อยๆทำให้แตกตัวลงได้ ถึงแม้เขาจะชินกับการพบเจอของพวกนี้และปราบปรามอย่างง่าย คนอาจรู้สึกอับอายคนอื่นหรือตนเองก็ได้ และเลือกที่จะทำตามไดเอท ณ จุดนี้ ความรู้สึกเข้มงวดจะครอบงำ

บาดแผลจิตใจจะปรากฏตามคนที่ทำงานร่วมอยู่ด้วย คนที่เราอาศัยอยู่ด้วย (กายจะเปลี่ยนแปลงตามอาชีพหรือคู่รัก) และครอบครัวของเรา ร่างกายเปลี่ยนแปลงไปตลอดชีวิต แผลที่ไม่ได้รับการรักษาจะปล่อยให้เราเปราะบาง และหากมีใครมาแตะต้องแผลนี้ เราจะเริ่มมีความรู้สึกไม่ดีต่อคนนี้และเสียใจที่เค้าเคยจัดการให้ จากนั้นก็เป็นเพียงหน้าที่ของเราที่ต้องดูแลต่อ

ในสถานการณ์ดังนี้ เราสามารถเลือกที่จะซ่อนบาดแผล และเติบโตต่อเพื่อที่จะซ่อนต่อไป

ดังที่เรามีอยู่ 5 บาดแผลในขณะเดียวกันแต่ในระดับไม่เท่ากัน สำหรับบางคนร่ายกายของเราอาจละอายแถวต้นขา การถูกทอดทิ้งแถวร่างกายด้านบนและการถูกปฏิเสธข้อมือ

 

แผลของการถูกทอดทิ้ง

 

เราถูกทิ้งโดยไม่ได้รับการรักษา เราไม่ได้รักษาตนเอง เราถูกทิ้ง

เด็ก ตั้งแต่เกิดจนถึงอายุหนึ่งปีครึ่ง รู้สึกโดนทอดทิ้ง ถูกลิดรอนจากความต้องการทางกายภาพและอารมณ์ที่ไม่มีใครให้กับเค้า

 

 

หน้ากาก: การพึ่งพา

 

ร่างกาย

 

ยาวและบอบบาง แต่ขาดอยู่ที่โทน ความเบาะบางที่ต้องการพึ่งพาใครสักคน ที่มีส่วนร่างกายนิ่มๆเช่นก้นหรือเต้นนม ใหญ่ น่าเศร้า ตาตก ร่างของเหยื่อ เต็มไปด้วยโรคเพื่อรับความสนใจ โหยหิวอยู่ตลอด (แต่ก็ไม่อิ่มซักทีซักที) แต่ไม่โตขึ้น เวลาพูดว่า ฉันกินมากเกินทำให้น้ำหนักเกิน ดังนั้น วิธีที่เราคิดขณะกินเป็นบ่งบอกว่าเราจะน้ำหนักเพิ่มหรือไม่

พฤติกรรม

 

การกระทำ

-เต้นรำหมุนตัวเพื่อให้คนอื่นรักเค้า

เกาะติดผู้อื่น

-กลัวการมีน้อยลง

-กล่าวหาว่าคนอื่นทิ้งตนเอง

-ไม่เห็นว่าตัวเองให้คนอื่นเพียงพอ ลืมคนอื่นไป ทิ้งงานที่ทำอยู่

-คิดว่าถ้าแสดงให้ตนเองดูอ่อนแอ คนอื่นจะมาช่วยเหลือ ชินการทำแบบนี้

-มักทำเป็นเรื่องใหญ่ ใช้เพศสัมพันธ์ดึงอีกคนไว้

-ร้องไห้ง่าย

-ขอคำแนะนำแต่ไม่ทำตาม

-เลือกทนอยู่ต่อแทนที่จะอยู่คนเดียว

-ปฏิเสธไม่เป็น

-ชอบพูดถึงตนเอง ไม่รู้จักเหนื่อย

 

 

ความกลัว: การกระทำโดดเดี่ยว

-มีเสียงเหมือนเด็ก

-ชอบเต้นรำแบบใกล้ชิดที่เมื่อเข้าใกล้คู่เต้นทำให้คนรอบข้างเห็นว่า นาง/นายรักฉัน

-ตอนนั่งเก้าอี้จะนั่งตัวหดโดยหลังด้านบนจะเอนไปข้างหน้าหรือเอนพิงโต๊ะ

-ชอบอยู่โดดเดี่ยวและบอกใครก็ตามที่อยากรู้ว่าอยู่คนเดียวรู้สึกอย่างไรบ้างว่าไม่ต้องการใคร

 

ต้องการ: ความสนใจ

 

ถึงยังไง คนจะเริ่มเบื่อเพราะคนนั้น

-ไม่ใช้หนทางที่ดี: บ่น ร้อง ไห้ หรือติดกับคนอื่น เป็นที่มีอารมณ์เกิน

-กลัวว่าจะลืมเค้าถ้าเค้าเริ่มโดดเดี่ยว

-ต้องการขณะบ่น พิสูจน์ดิว่ารักฉัน

คนป้อนความต้องการให้ทุกครั้งที่เธอทิ้งงานที่สำคัญแก่ตัวเธอ เธอไม่ได้ดูแลตัวเอง เธอทำให้คนอื่นกลัวด้วยการเกาะติด และสร้างความไม่สบาย

 

 

แผลการถูกปฏิเสธ:

 

เราถูกปฏิเสธ ไม่ต้องการการกระทำของเรา

 

เหมือนตอนที่พ่อแม่อยากได้ลูกสาวแต่ได้ลูกชายแทน หรือคู่แฟนที่ไม่ต้องการลูกแต่แรก

การโทดคนอื่นขณะที่จิตกำลังเลือกพ่อแม่เป็นสิ่งที่จะพลักดันให้เรามีความเมตตามากขึ้นเวลาสร้างพฤคิกรรมใหม่ที่จะช่วยรักษาแผลของเรา

แผลที่เปิดแล้วจะทำให้เกิดปฏิกิริยา  อย่างเช่น เด็กจะไม่ยอมกินนม

 

 

หน้ากาก: หนทางหนี

 

ตัวร่างกาย

 

เล็ก บาง มีบางส่วนที่ขาดอยู่ (ไม่มีตูด คาง เต้านม ตาเล็กและตี๋….)

พฤติกรรม

 

การกระทำ

-ไม่รู้สึกอะไรเลย น้อยกว่าไม่มีอะไรเลย กลับไปที่เดิมก็ได้

-แต่งตัวในสีธรรมดาจะได้ไม่มีใครสังเกต

-เดินหนีง่ายหลังจากมีอะไรที่ไม่ชอบขึ้นมา

-รู้สึกโดนปฏิเสธหลังจากโดนติเล็กน้อยขณะที่สร้างสถานการณ์ที่ทำให้สิ่งแบบนี้เกิดขึ้น

-สร้างโลกของตนเอง ตอนเป็นเด็ก เราสร้างโลกจินตนาการณ์ได้อย่างง่ายดาย ผู้ใหญ่ เราหลงเข้าไปสู่เหล้าและ/หรือยา

-เห็นการใช้ชีวิตอยู่บนโลกใบนี้มันยาก การให้ความเป็นเด็กภายในมีชีวิต ต่อหน้าชื่อแรก เพื่อเห็นแผลของเค้าและเห็นว่าปฏิเสธอะไรไปแก่ผู้อื่น

-คิดว่าตนเองถูกเข้าใจผิด

ตัวอย่างเช่น คนที่เป็นโรคเบื่อาหารจะอยู่ในบาดแผลการถูกปฏิเสธ เธอจะรู้สึกตัวใหญ่เกินตลอดและสำหรับเธอ โลกใบนี้ไม่มีความสำคัญ

 

ความกลัว: หวาดกลัว

 

การกระทำ:

-มีเสียงเบาอ่อน

-ไม่ชอบเต้น และทำให้เค้าขยับแค่นิดเดียว ทำให้เหมือนพูดว่า อย่ามองผม

เวลานั่งจะซ้อนเท้าอยู่ใต้โต๊ะ แต่จะไม่ติดอยู่กับพื้น

 

อัตตาของเราทำให้เราเชื่อว่าเราแก่แต่ตัวเองและผู้อื่นเพื่อให้ไม่รู้สึกการถูกปฏิเสธต่างๆ

 

 

ความต้องการ:ที่อยู่ในกลุ่มคน

 

ถึงที่แท้จริงคนรอบข้างต้องการเรา ความเป็นอยู่

-ทำทุกอย่างไม่ให้ใครเห็น หมกมุ่นกับความกลัวมากเกิน เชื่อว่าตัวเองมีค่าไม่พอ

แทบจะไม่ขอตามความต้องการตนเพราะเชื่อว่าจะถูกปฏิเสธไม่

-ไม่กล้ารบกวนคนอื่นและขอน้อย

ทุกครั้งที่ผู้นี้กล่าวหาคนเองว่าไม่มีที่อยู่ในสังคม ไร้มีประโยชน์ แล้วหนีจากสถานการณ์ แผลของตนเองจะแย่ลง

 

 

 

แผลของความอยุติธรรม

 

เราไม่ได้รับความชื่นชม และไม่มีใครให้เกียรติสิทธิและกุศลของเรา

 

เด็กคนนี้ใช้ชีวิตอยู่กลับแผลตั้งแต่อายุ 3 ถึง 5 ขวบ เนื่องจากไม่มีใครช่วยสร้างความเป็นตัวตนของเค้าขึ้นมา ว่า ผมคือใคร ต่อหน้าพ่อแม่ใจแข็ง ไม่ให้ความรักแต่ต้องการสูง เด็กคนนี้ไม่ได้เรียนเรื่องอารมณ์ความรู้สึกจากพ่อแม่ การกระทำของเค้าสำคัญกว่าการรู้สึกดี จึงทำให้แทบจะเป็นไปไม่ได้ที่เด็กจะมีความเป็นตัวของตนเอง

 

หน้ากาก: ความแข็งแกร่ง

 

ร่างกาย

 

ค่อนข้างจะสมส่วนถึงแม้จะน้ำหนักเกินเล็กน้อย หลังตรง ไหล่เอนไปด้านหลัง กริยาท่าทางเข้มแข็ง ตาจะสว่าง กรามแน่นแล้วอ้าไม่บ่อย มีเส้นเลือดตรงคอ ไขว้แขนไว้เพื่อให้ไม่มีความรู้สึก ใส่เสื้อผ้าสีดำที่รัดแถวเอว

พฤติกรรม

 

มุ่งมั่นหาความสมบูรณ์

-มีความรู้สึกไม่เป็น ไม่เคยมีใครสอนมา

-กดดันตนเองและร่างกาย เพราะอยากแสดงมาตลอด

-ช้ำแต่ไม่รู้จากไหน

-จะไปหาหมอเพียงถ้าอาการแย่จริงๆ แล้วรู้สึกภูมิใจเวลาไม่ได้ไปหา

-ควบคุมตัวเอง ทำตามไดเอทได้เป็นเวลานาน ควบคุมการพูดสนทนาของตนเอง

-กลัวตัวเองผิด

-พยายามมองตัวเองในแง่ถูก

-หัวเราะเพื่อซ่อนความไม่มั่นใจของตัวเอง

ขอความช่วยเหลือไม่เป็น ในการไว้วางใจ เพราะต้องการความเพอร์เฟคในการทำ

-ไม่ยอมรับคนติดเตียน

-มักจะใช้ชีวิตอยู่กับความหลอกลวงเมื่อเรื่องไม่ถูกต้อง ประสบอารมณ์จากความเข้มงวด

 

 

ความกลัว: ความเย็นชา

 

การกระทำ

-ไม่รู้ว่าคนรอบข้างเห็นตัวเองว่าเป็นคนเย็นชา ความเข้มงวด การยุ่งเกี่ยวกับคนอื่น ทุกสิ่งที่พูดต้องถูก โดยผู้ที่ควบคุมอยากให้คำพูดสุดท้ายในสถานการณ์

-มีความอิจฉา คิดว่าทุกคนต้องได้เท่ากันเพื่อให้เท่าเทียม

-ลำบากเวลาต้องรับอะไรก็ตาม (โดยเฉพาะเวลารับมากกว่าคนอื่นเพราะมันไม่เท่าเทียม)

-ไม่แน่ใจในการตัดสินใจของตัวเอง ต้องการแน่ว่าตัดสินใจถูก

-รักระเบียบ

-ชอบการดูเซ็กซี่

-ไม่ยอมยอมรับว่าใช้ชีวิตกับปัญหาอยู่

-มีเสียงแห้ง แข็ง

-การพูดจะฉับพลันและมีความโหดเข้ม

-ยอมรับความอยุติธรรมของตัวเองไม่ได้

-เต้นได้เก่งมาก ระมัดระวังไม่ให้ผิดพลาด  เข้าคลาสเต้นได้อย่างง่าย

-นั่งตัวตรง ****

-ชอบจองเค็มมากกว่าของหวาน

-ชอบพูดว่าตัวเองถูก ว่าชีวิตไม่มีปัญหา

-ชอบเชื่อว่ามีเพื่อนหลายคนที่ชอบในตัวตนของเค้า

 

 

ความต้องการ: อิสรภาพ

 

คนนี้เลี้ยงดูความต้องการของตนด้วยการต้องการเกิน ด้วยการไม่สนขีดจำกัดของตนเอง จึงทำให้ใช้ชีวิตด้วยความเครียด ติตัวเอง มีความสุขยาก มองไม่เห็นวาตัวเองทำอะไรไว้ดีบ้าง

ทำตัวเย็นชา ตัดตัวออกจากความรู้สึกกับคนเป็นระยะห่าง หมกมุ่นกับการทำให้ถูกต้องเกินไป

เวลาเรียกร้องความต้องการ จะเรียบสั้นเกินไปหรือมีรายละเอียดเยอะเกิน กลัวต้องติดบุญคุณ แล้วเชื่อมั่นว่าจะดีสุดถ้าทำเอง

 

 

 

เเผลของการทรยศ

เราผิดสัญญาที่ทำกับเค้าไว้ เราเลิกซื่อสัตย์ต่อตัวเค้า

 

เเผลนี้จะเกิดขึ้นระหว่างอายุ 2 ถึง 4 ปี ตอนที่พลังทางเพศเริ่มพัฒนา ทำให้เกิดปมเอดิเพิส เเล้วมีความผูกพันอย่างฟนักต่อพ่อเเม่เพศตรงข้าม มักจะเปรียบเทียบคู่ใจของเรากับพ่อเเม่คนนี้ จึงนำไปสู่การที่เราจับเเน่นไว้เนื่องจากกลัวว่าเราจะถูกหลอกตอนที่มีเพศสัมพันธ์ นี้จะเป็นพ่อเเม่ชอบอวยเด็กด้วยการชมอย่างเยอะ เด็กจะรู้สึกพิเศษ พ่อเเม่เพศตรงข้ามจะมีความสุขตามไปด้วย เด็กจะรู้จักความรับผิดชอบ เเล้วจะวิจารณ์คนอื่นที่มีความรับผิดชอบไม่พอ

หน้ากาก: การควบคุม

ร่างกาย

สะโพกกว้างเเล้วก้นขนาดดีสำหรับสาว ร่างกายมีเเรงเยอะอยู่พอสมควร สำหรับผู้ชาย ไหล่กว้าง ขนาดเล็ก ไม่มีก้น อกโค้งออก เหมือนจะพูดว่า “ผมควบคุมสถานการณ์ได้” ตัวเเข็งเเรงมาก ดูผมดิ! เป็นนายกล้ามใหญ่ ใส่เสื้อยืดขนาดเล็กเพื่อโชว์กล้าม

พฤติกรรม

การกระทำ

-มีเสน่ห์
-ด้วยเพียงสายตา มีความสามารถทำให้อีกคนรู้สึกว่าเราเป็นคนที่สำคัญที่สุด เเต่จะไม่ยอมถูกเย้าเยือนใจกลับ
-มองเข้าใจทุกอย่างได้อย่างรวดเร็ว
-ขี้ระเเวงเเละตั้งตัวอยู่ตลอด ไม่ให้โดนเย้าเยือนใจ
-เป็นคนที่บิดเบือนมาก เพราะเคยโดนบิดเบือนมาตั้งเเต่เด็ก จึงทำให้เป็นเเปลนี้
-ทำการตัดสินใจได้ยาก โดยเฉพาะถ้าเสี่ยงการเสียอำนาจคุมสถานการณ์
-ชอบกินพื้นที่เเล้วให้คนอื่นสังเกตเห็นพลังของเค้า
-อยากคุมสถานการณ์ ให้หน้าที่เเก่เค้าได้ เเล้วจะเข้าได้อย่างรวดเร็ว
-มีความสามารถเเต่ทนรอคนอื่นที่เชื่องช้าไม่ค่อยได้
-อยากปฏิบัติด้วยวิธีของตัวเองเพราะจะรู้สึกว่าถูกบิดเบือนถ้าถูกต่อต้าน
-ถ้าอยากทำอะไรกับคนที่มักจะชอบควบคุมจะต้องได้ความรู้สึกว่าตนเองเป็นคนที่คุมอยู่ ถ้าได้รับคำสั่งมา จะไม่อยากทำตาม
-ไม่ชอบเวลาคนอื่นมายุ่งเรื่องของเค้าเเต่ทางกลับชอบยุ่งกับเรื่องคนอื่น ตัวอย่างถ้าอยากได้คำพูดสุดท้าย ไม่เห็นว่าตัวเองมี เเต่เห็นคนอื่นพูด จะตั้งตัวอยู่ตลอดกลัวโดนหลอกลวง
-เชื่อใจคนยาก
-จะไม่เผยความอ่อนเเอ
-รู้สึกว่าการมีอำนาจมันยาก
-เชื่อว่าตนเองถูกต้องเเละพยายามโน้มน้าวให้คนอื่นเชื่อ
-ไม่ชอบเห็นคนอื่นไม่มีความรับผิดชอบ ไม่รักษาความมุ่งมั่นไว้
-กลัวการไม่มีส่วนร่วม การกระทำเเยกออก
-กลัวคนอื่นเห็นว่าเป็นคนที่ไม่มีความรับผิดชอบ
-ไม่ชอบโดนตกใจ
-กลัวหน้าที่เเละความหลุดพ้น
-การโกหกตัวเองเหมือนการทรยศตัวเอง
-รู้สึกว่าการมีอำนาจมันยาก
-พูดว่าครับเเต่ทำเป็นเหมือนกับว่าไม่สนใจสิ่งที่เพิ่งพูดมา
-มีข้ออ้างดีตลอดเพราะไม่อยากเห็นว่าตัวเองทิ้งความมุ่งมั่นเเละหน้าที่
-อยากรู้ทุกอย่าง อยากควบคุมคนอื่น
-หยิ่งการที่เราไม่เชื่อใจตัวเอง
-ไม่ยอมรับความขี้เกียจเเก่เพศตรงข้าม
-ต้องทำให้ทุกคนรู้ทุกอย่างที่ทำไป ทำอย่างไร เเละทำไปเท่าไหร่
-อารมณ์แปรปรวนง่าย
-กินเร็ว เพราะไม่อยากเสียเวลา เติมพริกกับเกลือ

 

 

ความกลัว: การล้มเหลวในหน้าที่

สำคัญอย่างยิ่งที่คนนี้ต้องเรียนรู้ว่าการล้มเหลวในหน้าที่เป็นอย่างไร

 

-กินพื้นที่มากเวลาเต้นเเล้วฉวยโอกาสเเสดงเสน่ห์ เหมือนพูดให้ทุกคนฟังว่า “ดูฉันซิ”
-นั่งลงเเล้วไขว้เเขนเอนตัวไปข้างหลังเวลาฟัง
-เอนตัวไปข้างหน้าเวลาพูด ทำให้ชักจูงใจได้ง่ายขึ้น
อัตตาของตนเชื่อว่าตนเองไม่เคยโกหก ว่าจะรักษาคำไว้ตลอดเเล้วไม่กลัวใครทั้งนั้น

 

ความต้องการ: ความเชื่อมั่นในตัวเอง

คนนี้ทำตามความต้องการด้วยการไม่บรรลุเป้าหมายต่างๆ ด้วยการโกหกตัวเอง ด้วยการไม่ขอความช่วยเหลือเพราะขาดความมั่นใจ ถึงเค้าจะไม่เชื่อมั่น เเต่เค้าก็ไม่พอใจเพราะเค้าหาพลังทางภายนอก เค้าหลงตัวเองเกินไป เวลาขออะไรจะคาดหวังสูง เเต่จะไม่ขออย่างละเอียด เค้าจะขอ ขู่ บังคับ คิดสั้น เเล้วเชื่อว่าคนอื่นเข้าใจตัวเค้า

 

 

เเผลของความละอาย

 

เราโดนดูหมิ่น ลดฐานะ ก่อกวน เเล้วเราก็รู้สึกละอาย

 

ระหว่างอายุ 1 ถึง 3 ขวบ ตอนที่เราเรียนรู้ให้อยู่เป็นตัวของตนเองได้ ทั้งการกินเอง การเข้าห้องน้ำ การล้างตัว เด็กจะโดนอับอายเวลาตัวสะอาดไม่พอ เเม่หรือคนดูเเลจะควบคุมบังคับเด็กมากเกินไปทำให้เด็กไร้ความรู้สึกหรือทำตามใจชอบไม่ได้ เช่นการเลอะเวลากินข้าวต่อหน้าเเขกหรือที่ร้านอาหาร หรือทุกครั้งที่ทำให้พ่อเเม่ละอายตัวเค้า

 

หน้ากาก:รับความเจ็บ

ตัวใหญ่กว่าปกติ ตัวจะกลมๆ หลังดีเเละตรง ตากลมโต

พฤติกรรม

การกระทำ

-ชอบลงโทษตัวเองก่อนคนอื่น
-ทำตัวเลอะเวลากิน
-ใส่เสื้อเเน่นที่ใส่เเล้วฉีก
-มุ่งมั่นเป็นคนดี ทำเพื่อคนอื่นตลอด ดีต่อคนอื่น ชอบเเต่งตัว ทำความสะอาด เเต่ทำไม่เหมือนกันให้ตัวเอง ไม่อยากรบกวน
-มักจะทำตัว “เกินไป” : ทำงานเกิน ช่วยเหลือเกิน ปัจจัยเยอะเกิน กลัวว่ามันจะไม่พอ ว่ามันน่าละอาย
-กลัวเสียอิสระภาพเพราะเคยเสียมาตอนเด็ก
-จะไม่ค่อยว่างเเต่อยากช่วยเหลือทุกคน
-ไม่ชอบไปเร็วเกินไป
-มีความรู้สึกง่าย
-ทำตัวเป็นฟองน้ำดูดสับความเศร้าให้ผู้อื่น
-ให้รางวัลตัวเองด้วยอาหาร โดยจะชอบอาหารไขมันสูง
-ชอบเต้นเเล้วใช้เป็นโอกาสเเสดงความรู้สึกตัวเอง เต้นเพื่อความสนุกจากการเต้น

 

ความละอายเป็นเเผลที่มองเห็นได้ยากสุด คนนี้จะลงโทษตัวเองตลอดเเล้วคิดว่าตนเองทำให้คนอื่นลำบากเเละคิดว่าดึงดูดผู้อื่นแล้วสถานการณ์น่าละอายเข้าตัวเอง เช่นการที่ไม่ชอบน้ำหนักตัวเองเเล้วมีคนคุยที่ชอบคุยกับคนอื่น

ความกลัว: อิสระภาพ

 

การกระทำ

ความต้องการ: อิสระภาพ
-รับภาระมากเกิน พบว่าตนเองทำเพื่อคนอื่น จึงทำให้ปิดบังความต้องการของตนเองเนื่องจากกลัวว่าจะทำเกินความต้องการ
-นั่ง ขากว้าง เลือกเก้านี้ที่เล็กเกิน นั่งไม่สบาย
-บอกตัวเองว่าทุกอย่างที่ทำให้คนอื่นทำให้ตัวเองมีความสุขเเละทำเพียงเพราะต้องการ
-พูดกับตัวเองเก่งว่าทุกอย่างดีหมด หาข้ออ้างให้คนที่ทำให้ตนเองต้องละอาย
-เเทบจะไม่ขอคนอื่นเลยเพราะกลัวจะได้มากกกว่าคนอื่น
-อยากให้คนอื่นเดาว่าเค้าทำอะไรให้ตนเองบ้าง
การกระทำทำตามความต้องการทุกครั้งที่ลดค่าตนเอง ลดค่าด้วยการเทียบกับตัวอื่น กล่าวว่าอ้วนเกินไป ไม่มีความเพียร ว่าสกปรก ใส่เสื้อเล็กเกิน เเบกคนอื่นเเล้วไม่เหลือเวลาให้กับตัวเอง

 

4 ขั้นตอนที่นำไปสู่การเเสดงออกของเเผลเรา

1.ขั้นตอนเเรก

เราเข้ามาสู่โลกนี้ เราคือตัวตน

 

 

2.ขั้นที่สอง

เราทุกข์เพราะเราเป็นตัวเราเองไม่ได้ในช่วงอายุเเละบริเวณต่างๆ

 

 

3.ขั้นที่สาม

เราเจอกับปัญหา เราทุกข์จากการไม่ได้เป็นตัวตนเรา

 

 

4.ขั้นที่สี่

เรายอมเเพ้ เเล้วเราทำตัวให้เป็นตามที่คนอื่นต้องการเพื่อให้ได้รับความรัก
ขั้นตอนการรักษาเเผล

 

 

4 ขั้นตอนที่นำเราไปสู่การแสดงออกของบาดแผล

1.ขั้นตอนเเรก

รู้ว่าหน้ากากของเราเป็นอย่างไร

.

 

 

2.ขั้นที่สอง

ขึ้นอยู่กับความเปิดตัวของเรา ต้านทานมากหรือน้อย กบฏระหว่างการตระหนักนี้

 

 

3.ขั้นที่สาม

ให้สิทธิ์ตัวเราที่จะทุกข์มาเเละอยากเป็นเหมือนพ่อเเม่ มีความสงสารเเล้วปล่อยไป

 

 

 

 

 

4.ขั้นที่สี่

ยอมรับตัวเองเเละประสบการณ์ที่เคยเจอมา สังเกต รักตัวเอง รักษาหาย

 

 

 

รักษาเเผล: การยอมรับ
การให้สิทธิ์ความเป็นมนุษย์เเก่เราคือการให้ความรักเเก่ตัวเอง เนื่องจากเราไม่มีความทรงของสิ่งที่เกิดขึ้นตอนเป็นเด็กหรือก่อนเกิด เราจะกล่าวหาพ่อหรือเเม่ที่ทำให้เราประสบกับเเผลนี้ตอนเเรก บางคนไม่อยากจะโทษพ่อเเม่ เเต่เลือกที่จะโทษคนอื่นเเทน ตัวอย่างเช่น ด้วยการที่ไม่อยากจะโทษพ่อ จะทำเป็นเหมือนกับว่าสามีหรือลูกชายเป็นต้นเหตุ เเต่เป็นสิ่งที่ต้องเเก้ไขกับพ่อ
เราต้องยอมรับว่าเคยมีอะไรมาทำร้ายเรา จะไม่มีการเปลี่ยนเเปลงถ้าเราไม่หัดยอมรับ ยอมรับว่าสิ่งที่เรากล่าวหาคนอื่น ก็เหมือนกับว่าเราทำเหมือนกันกับพวกเค้า เราต้องให้สิทธิ์ตัวเองเป็นเเบบนี้ถึงเเม้เราจะไม่ชอบ

เราจะเเสดงปฏิกิริยาตามเเผลของเรา

ลองใช้เเฟนที่ทะเลาะกันอยู่เป็นตัวอย่าง
การทอดทิ้ง – ผู้ที่พึ่งจะกล่าว เมื่อกลัวถูกทิ้ง
“เค้าจะทิ้งเราไป ถ้าเริ่มเบื่อกับเรา”
การถูกปฏิเสธ – ผู้ที่หนีจะกล่าวว่า
“เค้าปฏิเสธเรา เราไม่สำคัญเเล้ว เค้าไม่รักเราเเล้ว”
ความไม่เที่ยงธรรม – คนที่เข้มงวดจะกล่าวว่า
“มันไม่ยุติธรรม เราไม่สมควร เราจะไม่ทำอะไรเเบบนั้นกับเค้า”
กบฏ – ผู้ที่ควบคุมจะกล่าวว่า
“เค้าไม่เข้าใจอะไรเลย เค้าทำตัวเหมือนเด็ก”
ความละอาย – ผู้ที่ชอบความเจ็บจะกล่าวว่า
“เราทำอะไรไป เค้าคงละอายตัวเราเเน่เลย”

การรู้ถึงเเผลในตัวเองเเละผู้อื่น
พอเราอยู่ในบาดเเผล เราก็ไม่มีเป้าหมาย เเล้วเราทำร้ายผู้อื่นได้
การสร้างพฤติกรรมใหม่
• สำหรับผู้ที่พึ่งพา
ต้องเเน่ใจว่าอีกฝั่งอยากทิ้งเราจริงเหรอ
• สำหรับผู้ที่หนี
ดูว่าเราถูกทิ้งมั้ย เเทนที่จะหนี เพื่อให้คุณค่าเเก่ตัวเราเพิ่ม
• สำหรับผู้ที่เข้มงวด
ดูว่าฝั่งตรงข้ามจงใจไม่ยุติธรรมกับเราหรือเปล่า หัดเรียนรู้ที่จะรู้สึก ขณะเดินอยู่ในธรรมชาติ การหายใจ กลิ่นของดิน ของป่าไม้ ฟังเพลง
• สำหรับผู้ที่ควบคุม
ดูว่าเคยมีคำสัญญามั้ย กับความยึดติดมั้ย ก่อนกล่าวหาผู้อื่นว่าไม่ทำตาม หัดเชื่อใจมากขึ้น ก่อนที่จะสรุปความ หัดนำโดยไม่ใช้การควบคุม
• สำหรับผู้ที่ชอบความเจ็บ
ดูว่าเราอยากให้ตนเองละอายจริงมั้ย ว่าสิ่งที่เราทำหรือพูดไปน่าละอายจริง เลิกเเบกภาระทุกอย่างบนตัวเรายิ่งกว่าความต้องการตนเอง ขอความช่วยเหลือจากผู้อื่น การรู้ถ้าเราถือของที่ไม่ใช่ของเรา ให้อภัยเเก่พ่อเเม่คนนั้น ถ้าเรามั่นใจได้ว่าคนใดคนหนึ่งเป็นเหตุความทุกข์ของเรา เราก็ให้โอกาสตัวเองกล่าวหาคนนั้นได้ มันจับปวดเเละมันเป็นเรื่องปกติ เราจะเเก้ไขอะไรไม่ได้ทั้งนั้นจนกว่าเราจะยอมรับว่าเราโทษคนนี้ได้

เราอาจรู้สึกผิดที่โทษเค้าเป็นต้นเหตุ เเละในทางกลับเค้าให้อภัยเรา

เเผลที่เรามีกับพ่อเเม่ของเค้าคนหนึ่ง เค้าใช้ชีวิตก่อนหน้าเรากับพ่อเเม่ของเค้า เเละเรื่อยๆ

การให้อภัยเเก่พ่อเเม่คนนั้นจะหยุดวงกรรมอันนี้

รักษา
การรักษาเริ่มในทั้งสามร่าง
จากนั้นจิตวิญญาณของเราจะปลุกขึ้นมาเเล้วใช้ชีวิตอย่างที่จะใช้
ระเบียบวิธีอันเล็ก
ระลึกย้อนหลัง
ในช่วงเย็น ลองนึกถึงเหตุกาลในวันนั้นว่ามีอะไรทำให้เรารู้สึกอารมณ์บ้าง
พอเรารู้ว่ามีอะไรโดนบาดเเผลอยู่ เราต้องไม่โทษคนอื่น เเล้วไม่โทษตัวเองด้วย
ระมัดระวัง
ลองนึกดูว่าเราโทษคนอื่นเรื่องอะไร เพราะเราอาจทำเช่นกันเมื่อก่อน
ลองเชื่อมโยง
เพื่อให้เปลี่ยนท่าทางของเรา ลองเชื่อมโยงความเกี่ยวข้องระหว่างเเผลกับเหตุการณ์
รู้ถึงความกลัว
นี้เป็นความกลัวที่เรามีกับตัวเอง ที่เชื่อมโยงกับเเผล
ใช้เวลาให้เพียงพอ
เพื่อให้เเผลค่อยๆรักษาดีขึ้นเเล้วอ่อนไหวน้อยลง ควรใช้เวลา
ทำเรื่องให้เล็กลง
เพื่อให้ได้ผล เราต้องพยายามหัวเราะ!
ควรรู้ไว้ว่าต้องใช้ความพยายามอยู่พอสมควรเเล้วอาจใช้เวลาอยู่หลายปี นี้จะเป็นการรักษาที่ใช้เวลา 3 อาทิตย์ซึ่งต้องใช้ความพยายามของผู้ป่วยด้วย เเต่เร็วกว่าเยอะ
นี้จะเป็นเเพคเคจที่ 3 ที่มีเสนอให้ ถ้าอยากเรียนรู้เพิ่มเติมกดตรงนี้เลย!

คำถาม
เราหลีกเลี่ยงการสร้างเเผลให้เเก่ลูกหลายนได้มั้ย
การมีความรู้เกี่ยวกับเเผลเเละผลกระทบจะช่วยให้เราทำให้เด็กใช้เวลารักษาได้น้อยลง จะเป็นการให้เวลาเค้าในการเปิดเผยตัวเอง เเละให้ความรับผิดชอบนี้ให้เเก่เค้า การทำเพื่อเค้าเเละไม่ได้เพื่อให้เรารู้สึกดีเอง
การทอดทิ้ง
ในระหว่างการรักษาเเล้วตอนที่เราอยู่คนเดียวเเล้วรู้สึกดี ชีวิตจะวุ่นวายน้อยลง จะส่งผลไปสู่ท้ายโปรเจ็ค ถึงเเม้คนอื่นจะไม่สนับสนุน
ความสามารถภายใน
จับความสนใจของผู้อื่น มีความสามารถด้านศิลปะ ช่วยคนอื่นได้โดยไม่ต้อง
เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับปัญหา
การปฏิเสธ
ในระหว่างการรักษาเราจะกินพื้นที่มากขึ้นๆ เรากล้าเเสดงออกเเล้วเราอยู่ในสถานการณ์ที่เรากังวลน้อยลง
ความสามารถภายใน
มีปัญญาสูง สามารถสร้างสรรค์ คิดค้น มีจินตนาการ มีความอดทนสูงในงาน มีประสิทธิภาพ เน้นลายละเอียดสูง
ความไม่ยุติธรรม
ในระหว่างการรักษาตอนที่เราทำการผิดพลาดได้โดยไม่รู้สึกผิด ร้องให้ต่อหน้าคนอื่นได้โดยไม่ต้องกลัวถูกวิจารณ์
ความสามารถภายใน
เจอสถานการณ์ซับซ้อน มีความกระตือรือร้น คล่องแคล่ว มีระเบียบ มีสมรรถนะการทำงานสูง รู้ว่าเราควรรู้อะไรตอนไหน อธิบายได้เรียบง่าย สั่งสอน
การกบฏ
ในระหว่างการรักษาที่เราเริ่มปลดปล่อย เราพยายามไม่ดึงดูดความสนใจเเล้วภูมิใจในตัวเองถึงเเม้คนอื่นจะไม่เห็น
ความสามารถภายใน
มีคุณสมบัติการเป็นผู้นำ ปกป้องเเละทำให้คนอื่นสบายใจ มีความสามารถการพูดในสาธารณะ ส่วนร่วมสังคม ช่วยให้คนอื่นมีคุณค่า ทำได้หลายอย่างในเวลาเดียวกัน ตัดสินใจได้เร็ว
ความละอาย
ในระหว่างการรักษาเราจะใช้เวลาดูความต้องการของตัวเองก่อนทำอะไรให้คนอื่น เราจะเรียกขอได้มากขึ้นโดยไม่ต้องรู้สึกอึดอัด เรารู้สึกมีอิสระเพิ่มขึ้นกับการสร้างขอบเขตให้ตนเอง
ความสามารถภายใน
กล้าหาร บุกเบิก เป็นสื่อกลางได้ดี ชอบช่วยเหลือ เห็นเเก่คนอื่น รู้จักสนุกสนาน มีความสามารถในการจัดการ

LINE ID : shitmo

แบบฟอร์มติดต่อนี้สำหรับผู้ที่ได้ทำการจองไว้แล้วเท่านั้น(การสะกดจิตบำบัด)

WhatsApp chat
Seraphinite AcceleratorOptimized by Seraphinite Accelerator
Turns on site high speed to be attractive for people and search engines.